ชื่อวิทยาศาสตร์ Streblus asper Lour.
ชื่อวงศ์ Moraceae
ชื่อสามัญ Siamese rough bush, Tooth brush tree
ชื่อสามัญ ตองขะแหน่ (กาญจนบุรี), กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ), ส้มพอ (เลย)
ลักษณะทางพฤกศาสตร์
ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นค่อนข้างคดงอ เป็นปุ่มปม หรือเป็นพูเป็นร่องทั่วไป อาจขึ้นเป็นต้นเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม แตกกิ่งต่ำ บางครั้งพบว่าเกือบชิดดิน เรือนยอดเป็นรูปวงกลม กิ่งก้านสาขามาก เปลือกสีเทาอ่อน เปลือกแตกเป็นแผ่นบางๆ มียางสีขาวเหนียวซึมออกมา
ใบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับมีขนาดเล็ก รูปใบรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง ๒-๒.๕ เซนติเมตร ยาว ๔-๗ เซนติเมตร เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวสากเหมือนกระดาษทรายทั้งสองด้าน
ดอก ออกเป็นช่อสีขาวเหลืองอ่อน ออกตามปลายกิ่ง ดอกเดี่ยวแต่รวมกันเป็นกระจุก ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน
ผลสดกลม เมล็ดโตขนาดเมล็ดพริกไทย มีเนื้อเยื่อหุ้ม ผลแก่จัดจะมีสีเหลือง ซึ่งมีรสหวาน นกจะชอบกินผลข่อย ประโยชน์ทางยา
๑.ใช้กิ่งสด ขนาดยาว ๕-๖ นิ้วฟุต หั่นต้มใส่เกลือเคี่ยวให้งวด เหลือน้ำครึ่งเดียว อมเช้า-เย็น ทำให้ฟันทน ไม่ปวดฟัน
๒.ใช้เปลือกต้มกับน้ำรับประทาน แก้บิด แก้ท้องเสีย แก้ไข้
๓.ใช้เปลือกต้นมวนสูบ แก้ริดสีดวงจมูก
๔.ใช้เมล็ด รับประทาน และต้มน้ำอบบ้วนปาก เป็นการฆ่าเชื้อโรคในช่องปาก และโรคทางเดินอาหาร ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ
๕.นำใบมาคั้นให้แห้ง ชงน้ำรับประทาน บรรเทาอาการปวดของมดลูกระหว่างมีประจำเดือน
สารเคมีที่พบ
ผล จะมีน้ำมันระเหย ๑-๑.๔ % ไขมัน ๒๖ % และ ในน้ำมันนี้จะประกอบด้วยสารพวก เทอปีน (terpenes) อยู่หลายชนิด และพวกเจอรานิออล (geranilo) พวกแอลกอฮอล์การบูน (camphor) ฯลฯ และนอกจากนี้ยังมีน้ำตาลอ้อย (sucrose) น้ำตาลผลไม้ (fructose) น้ำตาลกลูโคส
ทั้งต้น มีสาร ลินาโลออล (linalool) โนนานาล (nonana) ดีคาลนาล (decanal) วิตามินซี ๙๒-๙๘ มก.%
เมล็ด จะมีสารประกอบพวกไนโตเจน ๑๓-๑๕ เปอร์เซ็นต์ และสารอนินทรีย์ ๗ % มีน้ำมันระเหย ๑ % ซึ่งมีสารส่วนใหญ่ในน้ำมันระเหยนั้นเป็น d-linalool ประมาณ ๗๐%
ใบ คั้นเอาน้ำดื่มทำให้อาเจียนถอนพิษยาเบื่อยาเมาหรืออาหารแสลง
ชื่อวงศ์ Moraceae
ชื่อสามัญ Siamese rough bush, Tooth brush tree
ชื่อสามัญ ตองขะแหน่ (กาญจนบุรี), กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ), ส้มพอ (เลย)
ลักษณะทางพฤกศาสตร์
ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นค่อนข้างคดงอ เป็นปุ่มปม หรือเป็นพูเป็นร่องทั่วไป อาจขึ้นเป็นต้นเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม แตกกิ่งต่ำ บางครั้งพบว่าเกือบชิดดิน เรือนยอดเป็นรูปวงกลม กิ่งก้านสาขามาก เปลือกสีเทาอ่อน เปลือกแตกเป็นแผ่นบางๆ มียางสีขาวเหนียวซึมออกมา
ใบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับมีขนาดเล็ก รูปใบรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง ๒-๒.๕ เซนติเมตร ยาว ๔-๗ เซนติเมตร เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวสากเหมือนกระดาษทรายทั้งสองด้าน
ดอก ออกเป็นช่อสีขาวเหลืองอ่อน ออกตามปลายกิ่ง ดอกเดี่ยวแต่รวมกันเป็นกระจุก ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน
ผลสดกลม เมล็ดโตขนาดเมล็ดพริกไทย มีเนื้อเยื่อหุ้ม ผลแก่จัดจะมีสีเหลือง ซึ่งมีรสหวาน นกจะชอบกินผลข่อย ประโยชน์ทางยา
๑.ใช้กิ่งสด ขนาดยาว ๕-๖ นิ้วฟุต หั่นต้มใส่เกลือเคี่ยวให้งวด เหลือน้ำครึ่งเดียว อมเช้า-เย็น ทำให้ฟันทน ไม่ปวดฟัน
๒.ใช้เปลือกต้มกับน้ำรับประทาน แก้บิด แก้ท้องเสีย แก้ไข้
๓.ใช้เปลือกต้นมวนสูบ แก้ริดสีดวงจมูก
๔.ใช้เมล็ด รับประทาน และต้มน้ำอบบ้วนปาก เป็นการฆ่าเชื้อโรคในช่องปาก และโรคทางเดินอาหาร ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ
๕.นำใบมาคั้นให้แห้ง ชงน้ำรับประทาน บรรเทาอาการปวดของมดลูกระหว่างมีประจำเดือน
สารเคมีที่พบ
ผล จะมีน้ำมันระเหย ๑-๑.๔ % ไขมัน ๒๖ % และ ในน้ำมันนี้จะประกอบด้วยสารพวก เทอปีน (terpenes) อยู่หลายชนิด และพวกเจอรานิออล (geranilo) พวกแอลกอฮอล์การบูน (camphor) ฯลฯ และนอกจากนี้ยังมีน้ำตาลอ้อย (sucrose) น้ำตาลผลไม้ (fructose) น้ำตาลกลูโคส
ทั้งต้น มีสาร ลินาโลออล (linalool) โนนานาล (nonana) ดีคาลนาล (decanal) วิตามินซี ๙๒-๙๘ มก.%
เมล็ด จะมีสารประกอบพวกไนโตเจน ๑๓-๑๕ เปอร์เซ็นต์ และสารอนินทรีย์ ๗ % มีน้ำมันระเหย ๑ % ซึ่งมีสารส่วนใหญ่ในน้ำมันระเหยนั้นเป็น d-linalool ประมาณ ๗๐%
ใบ คั้นเอาน้ำดื่มทำให้อาเจียนถอนพิษยาเบื่อยาเมาหรืออาหารแสลง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น